วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557

Lab6week07 การวิเคราะห์พิ้นผิว (Surface Analysis)



 การวิเคราะห์พิ้นผิว


การสร้างเส้นแสดงชั้นความสูง(Contour Line)
การสร้างเส้นชั้นความสูงทั้งชั้นข้อมูล
การสร้างแนวการมองเห็น (Line of Sight)
การแสดงทิศทางการไหล (Steepest path)
การสร้างพื้นผิวแสดงความลาดชัน (Slope)
การแสดงทิศทางการหันเหของความลาดชัน(Aspect)
การแสดงการตกกระทบของแสง (Hillshade)
ารประมาณปริมาตรในการขุดและถมที่(Cut-and-Fill)



การสร้างเส้นแสดงชั้นความสูง(Contour Line)


ปิดข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์พื้นผิวขึ้นมา idw2

เลือกเครื่องมือ 3D Analyst โดยคลิกขวาบริเวณด้านบนตรงแถบเครื่องมือ

คลิกเลือก Create Contours  

จากนั้นคลิกไปบนจุดที่บริเวณที่ต้องการแสดงเส้นชั้นความสูง


การสร้างเส้นชั้นความสูงทั้งชั้นข้อมูล

Arc Toolbox > 3D Analyst Tools> Raster Surface> Contour

Input Raster เลือก ชั้นข้อมูลที่ต้องการแสดงเส้นชั้นความสูง idw2

ในContour interval ช่องใส่ระหว่างเส้นที่ต้องการระยะห่าง

หลังจากกด OK ก็จะได้ภาพที่มีเส้นแสดงชั้นความสูงปรากฏ

จากนั้นคลิกขวาที่ข้อมูลเลือก Label Features เพื่อแสดงเลขกำกับ

เมื่อเราทำการซูมเข้าไปจะปรากฏเลขกำกับอยู่


การสร้างแนวการมองเห็น (Line of Sight)

ลือก Create Line of Sight ในแถบเครื่องมือ 3D Analyst

ทำการคลิกลากเส้นในชั้นข้อมูล เมื่อคลิกลากเสร็จให้ดับเบิ้ลคลิก


จะได้เส้นแนวการมองเห็น ซึ่งมีความหมายดังนี้
จุดสีดำ คือ จุดสังเกตการณ์(จุดเริ่มต้น)
จุดสีน้ำเงินคือ ตำแหน่งที่ถูกกีดขวางจากจุดสังเกตไปยังจุดเป้าหมาย
เส้นสีแดงคือ บริเวณที่ถูกขัดขวางจากจุดสังเกต
เส้นสีเขียว คือ บริเวณที่สามารถมองเห็นได้จากจุดสังเกต
จุดสีแดง คือ ตำแหน่งเป้าหมาย

การแสดงทิศทางการไหล (Steepest path)

เลือกเครื่องมือ Create Steepest Path

คลิกบริเวณที่ต้องการแสดงทิศทางการไหล 

การสร้างภาพตัดขวาง (Profile)
เลือกเครื่องมือ Interpolate Line

คลิกลากจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ตามบริเวณทีต้องการแสดงภาพตัดขวาง

จากนั้นคลิกเครื่องมือ Create Profile Graph
จะได้หน้าต่างกราฟแสดงระดับความสูงของพื้นผิวตามเส้นที่เราลากไว้

การสร้างภาพตัดขวางสองตำแหน่งเพื่อเปรียบเทียบ
คลิกลากเส้นๆหนึ่ง จากนั้นก็ทำการลากอีกเส้นหนึ่งขนานกัน 
ดังภาพ ระหว่างลากเส้นกด SHIFT ค้างไว้ 

Create Profile Graph ก็จะได้กราฟแสดงระดับความสูงพื้นผิวทั้ง2เพื่อเปรียบเทียบ

การสร้างพื้นผิวแสดงความลาดชัน (Slope)

Arc Toolbox> 3D Analyst Tools> Raster Surface> Slope

Input rasterเลือกชั้นข้อมูล   

Output raster เลือกบริเวณจัดเก็บข้อมูล slope_fei

Output measurement เลือกเป็น DEGREE จากนั้นกด OK

จะปรากฏข้อมูลเป็นแบบจำลองความสูงเชิงเลข

จากนั้นเปลี่ยนในส่วน Output measurement เป็น PERCENT_RISE จากนั้นกด OK

จะปรากฏดังภาพ

การแสดงทิศทางการหันเหของความลาดชัน(Aspect)

Arc Toolbox> 3D Analyst Tools> Raster Surface> Aspect

Input rasterเลือกชั้นข้อมูล idw2

Output rasterเลือกบริเวณจัดเก็บข้อมูล Aspect_feiจากนั้นกด OK 

จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ

Aspect จะวัดตามเข็มนาฬิกาจาก 0-360 องศา
สีแดง คือ 0 องศา
สีส้ม คือ 45 องศา
สีเหลือง คือ 90 องศา
สีเขียว คือ 135 องศา
สีฟ้าอ่อน คือ 180 องศา
สีฟ้า คือ 225 องศา
สีน้ำเงิน คือ 270 องศา
สีชมพูคือ 315 องศา

การแสดงการตกกระทบของแสง (Hillshade)

Arc Toolbox> 3D Analyst Tools> Raster Surface >Hillshade

Input เลือก ชั้นข้อมูล

Output เลือกพื้นที่จัดเก็บ hillshade_fei

Azimuth ใส่ค่ามุม315, Altitude ใส่ค่า 45 จากนั้นกด OK

จะได้ข้อมูลซึ่งแสดงการตกกระทบของแสงเงา ดังภาพ

จากนั้นลองนำข้อมูล AMPHOE มาซ้อนทับ

จากนั้นแบ่งสีโดย clickขวาที่ AMPHOE >Properties> 
Symbology> Categories >Unique value > Add All Values

จากนั้นเลือก Display >เลือกเครื่องหมายถูกที่ 
Scale symbols when a reference scale is set
ในช่อง Transparent เลือกค่าความโปร่งแสง 60%

หลังจากทำการเซ็ทค่าเสร็จ ก็จะได้ภาพที่แสดงจุดตกกระทบของแสงเงา



การสร้างพื้นที่การมองเห็น (Viewshade)

สร้างShapefileแบบจุด ใส่ค่าพิกัดให้ข้อมูลเลือก Indian1975 UTM Zone 47N

จากนั้นเลือก Editor > Start Editing

เลือกจุดวางบนบริเวณที่ต้องการ

 Arc Toolbox> 3D Analyst Tools > Raster Surface >Viewshade

Input raster เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการ

 Output เลือกพื้นที่จัดเก็บ view_fei

ก็จะปรากฏข้อมูลแสดงพื้นที่การมองเห็น พื้นที่สีชมพูคือพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นได้
ส่วนพื้นที่สีเขียวอ่อนคือพื้นที่ที่สามารถมองเห็น



ารประมาณปริมาตรในการขุดและถมที่(Cut-and-Fill)

เปิดข้อมูล DEM_BEFORE

Arc Toolbox > 3D Analyst Tools > Raster Surface >Cut Fill

Input before raster surface > DEM_BEFORE.tif

Input after raster surface > DEM_AFTER.tif

จะปรากฏดังภาพ


เปิดตารางขึ้นมา Open Attribute Table เพื่อตรวจสอบพื้นที่


สามารถเลือกดูพื้นที่ เพื่อดูปริมาตรขอพื้นที่



ลิงค์วิดิโอสาธิต








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น