วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557

Lab5week06 การสร้างแบบจำลองพื้นผิว



 การสร้างแบบจำลองพื้นผิว

การประมาณค่าช่วง IDW
การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Natural Neighbor
-  การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Spline
การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Kriging
การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Trend
การสร้างพื้นผิวแบบโครงข่ายสามเหลี่ยม TINS




การประมาณค่าช่วง IDW

Catalog > RTArcGIS > Clickขวาสร้างแฟ้มข้อมูลชื่อ Inter_eisssly

มาที่ RTArcGIS > Kanburi > SPOT > ลากข้อมุลจุดลงมาที่ Display Area

ดูค่าความสูงโดยการClickขวาที่ SPOT > Open Attribute 

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

 จากนั้นมาที่ArcToolbox > Spatial Analyse  Tools > Interpolation > IDW

 คลิกเข้าไปที่ IDW > ที่ช่อง Input เลือก SPOT

 ช่อง Z value เลือก ELEVETION

 จากนั้นช่อง Output raster ตั้งชื่อว่า ID
  
ที่ช่อง Output cell size ใส่ค่า 40 > OK

เมื่อโหลดเสร็จก็จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ ( DEM หรือข้อมูลเชิงเลข )

 เปลี่ยนสีข้อมูล Symbology > Stretched > เลือกสีที่ต้องการ

กด Ok

 ไปที่ RTARC > KANCHANABURI >Kanburi > PROVINCE ลากPROVINCE ลง

Clickขวา เลือก No Color

จากนั้นมาที่ ArcToolbox  > Spatial Analyse  >  Interpolation  >  IDW

คลิกเข้าไปที่ IDW > ที่ช่อง Input point feature เลือก SPOT

ช่อง Z value field เลือก ELEVETION

จากนั้นช่อง Output raster ตั้งชื่อว่า ID2 

ที่ช่อง Output cell size ใส่ค่า 40 

เลือก Enviroment

จะปรากฏหน้าต่าง Enviroment Setting >
Processing Extent>Extent>Same as layer PROVINCE

จากนั้นเลือก Raster Analysis


ในช่อง Mask>PROVINCE>Ok

จะปรากฏดังภาพ


การปรับเลือกสี Symbology > Stretched  > เลือกสี > OK

ที่หน้าต่าง Layers เลือกแสดงเพียง Idw_shp3

การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Natural Neighbor

ไปที่ ArcToolbox>Spatial Analyst Tools > 
Interpolation > Natural Neighbor

Input point feature > SPOT

Z value field > ELEVATION

Output raster > Natural_shp1 > Save

Output cell size > 40 

Environments > Processing Extent > Same as layer PROVINCE

จากนั้นไปที่ Raster Analysis > PROVINCE > Ok

จะได้ข้อมูล PROVINCE ที่ผ่านการประมาณค่าช่วงโดยวิธี Natural Neighbor


การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Spline

ArcToolbox > Spline > ใส่ค่าเหมือนเดิม > 
ที่ Spline type เลือก REGULARIZED > Ok

ใส่ค่าดังภาพ

Environment > Processing Extent > Same as Layer PROVINCE

Raster Analysis ในส่วน Mask เลือกPROVINCE

กด OK

ผลลัพธ์ที่ได้จากการ Spline แบบ REGULARIZED

Spline TENSION
ArcToolbox > Spline > ใส่ค่าเหมือนเดิม > 
ที่ Spline type เลือกTENSION > Ok

Raster Analysis > PROVINCE > Ok

จะปรากฏผลลัพธ์ที่ได้จากการ Spline แบบ TENSION ดังภาพ 


การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Kriging

ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Kriging

Input point feature > SPOT

Z value field > ELEVATION

Output surface raster > kringing _shp1 

Output cell size > 40 >  Environments…

Raster Analysis > PROVINCE > Ok

Processing Extent >  Same as Layer PROVINCE

กด Ok

จะปรากฏดังภาพ ข้อมูลผ่านการ Kriging ข้อมูลมีความหยาบ


การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Trend

Arc toolbox > Spatial Analyst tools > Interpolate > Trend

ตั้งค่าดังภาพ ในส่วน Polynomial order เลือกเป็น1 > Environments

Processing  Extent > Extent เลือก Same as Layer PROVINCE

Raster  Analysis >  Mask เลือก PROVINCE > OK

                                                                                                  ข้อมูลหลังจากผ่านการ Trend

จากนั้นลองเปลี่ยนค่าที่ส่วนPolynomial order เป็น 3
ตั้งค่าดังภาพ ในส่วน Polynomial order เลือกเป็น 3 >  Environments

Processing Extent> Extent เลือก Same as Layer PROVINCE

Raster Analysis > Mask เลือก PROVINCE > OK

จะปรากฏภาพที่ทำการ Polynomial order เลือกเป็น 3   


การประมาณค่าช่วงโดยวิธี Topo to Raster

วิธีTopo to raster นั้นไม่เพียงแต่ใช่ข้อมูลจุด ยังต้องมีข้อมูลเส้น   
contour Stream ขอบเขตลากข้อมูล SPOT, STREAM, CONTOUR, PROVINCE

Arc toolbox > Spatial Analyst tool > Interpolate > Topo to Raster

Input Feature เลือกข้อมูลทั้งหมด

ตั้งค่า โดยเรียงข้อมูลตามภาพ

ตั้งค่าดังนี้

Topo to Raster เป็นการออกแบบมาเพื่อสร้างแบบจำลองความสูงเชิงเลขทางอุทกศาสตร์


การสร้างพื้นผิวแบบโครงข่ายสามเหลี่ยม (TINS)

ใช้ข้อมูล PROVINCE, SPOT, CONTOUR, STREAM
ไปที่ Arc Toolbox > 3D Analyst Tools > TIN Management > Crate TIN

ในส่วน Input เลือกนำเข้าข้อมูลทั้งหมด ดังภาพ

ในช่อง Output เลือกพื้นที่จัดเก็บ

ตั้งค่าดังภาพ > OK

จะได้ข้อมูลที่ทำการ TIN ดังภาพ

จากนั้นเลือกข้อมูล TIN เลือก Properties

Symbology > ติ๊กนำเครื่องหมายถูกที่ Edge types ออก > OK

ก็จะได้ภาพแสดงพื้นผิวแบบโครงข่ายสามเหลี่ยม

ข้อมูลมีปริมาณมาก ควรเลือกใช้อย่างถูกต้อง






ลิงค์วิดิโอสาธิต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น