วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557

Lab3week04 การจัดการมาตราส่วนแผนที่ (Map Scale Management)


การจัดการมาตราส่วนแผนที่

(การกำหนดและแปลงระบบพิกัดภูมิศาสตร์ และการแปลงพื้นหลักฐาน)

-การจัดการมาตราส่วนแผนที่ (Map Scale  Management)
-การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Define Projection)
-การแปลงระบบพิกัดภูมิศาสตร์หรือโซน(Projection)
-การแปลงพื้นหลักฐาน (Datum Transformation)
-การทำAppend
-การทำErase
-การจักกลุ่มข้อมูลใหม่


การจัดการมาตราส่วนแผนที่ (Map Scale  Management)

Open FolderRTArcGIS

สร้างFolder ในRTArcGISชื่องานเรา(Project_kanrawee)

ไปที่LAB11

Copy-Chaopaya ไปใส่ในproject_kanrawee


เปิดข้อมูลใน Project เรา ลากChaopayaลงบน Layer

การเซตหน่วยแผนที่ไปที่ View  > Data Frame Properties

จากนั้นไปที่General เลือก Meters จากนั้นกด Ok

ถ้าเราจะเพิ่มมาตราส่วนไปที่ Customize This List..

เลือกมาตราส่วนที่ต้องการ จากนั้นกด ADD  >  Ok


การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Define Projection)
Arc tool Box  > Data Management Tools

ดับเบิ้ลคลิกที่เครื่องมือ Define Projection

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ



ใส่ค่าพิกัด Select เลือก WGS_1984_UTM_Zone_47N


พอใส่ค่าพิกัดเรียบร้อยจะเห็นดังภาพกดOk

จากนั้นเปิดเอกสารขึ้นมาใหม่ New May File

การแปลงระบบพิกัดภูมิศาสตร์หรือโซน (Projection)

ไปที่Lab11 

ไปที่Arc Tool box >  Projections and Transformations  > Featuer >         Project           

เลือกFolderที่จะเซฟ จากนั้นใส่ค่าพิกัด WGS_1984 _UTM_Zone_47N

Ok

จะได้ดังภาพ

การแปลงพื้นหลักฐาน (Datum Transformation)
ไปที่Folder Lab11  เปิดข้อมูล Polygon

จะปรากฏดังภาพ

ลาก Bangkokลงบน Layer

ถ้าขึ้นแบบนี้แสดงว่าค่าพิกัดต่างกันให้กดClose

ทำการแปลงตัว Bangkok  > View > Data Frame Properties

เลือก Coordinate System > Layer

จากนั้นเลือก Province_WGS84UTM47N  > WGS_1984 _UTM_Zone_47N

เลือก Transformation

เลือกNew

ใส่ค่าคงที่ X=206,Y=837,Z=295 จากนั้นกดOk

ok

ok

จะปรากฏดังภาพคือซ้อนทับกันพอดี

การทำAppend
เป็นการรวมข้อมูลรูปแบบหนึ่ง แต่ต่างจากข้อมูลตัวอื่นๆ

Lab12 Data

Copy LU5038i.shp และ L5138iv.shp ไปใส่ Folder project kanrawee


เปิดข้อมูลจากFolderของเรา (project kanrawee)

ไปที่ ArcToolbox >Data Management Tools  General

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

Input Datasets เลือก LU5138iv >Target Dataset เลือก LU5038i  > Ok


จะปรากฏดังภาพ

การทำEraseคือการตัดข้อมูลภายในขอบเขต

เปิดข้อมูล Lab12 > Data > PathumThani.gdh


เลือก WATER > SOILS ลากลงบน Layer

ไปที่ ArcToolboxAnalysisTools > Overlay > Erase

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ


ช่อง Input Features เลือก SOILS ในช่อง 
Erase Feature เลือก WATERจากนั้นกด Ok

ภาพที่ได้

การจักกลุ่มข้อมูลใหม่ Reclassify
ลากPrachinem30m.tif ลงบน Layer

ไปที่เครื่องมือ ArcToolbox >3D Analyst Tools > ResterReclass        >Reclassify

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

ในช่อง Input raster ใส่Prachinem30m.tifReclass field
ใส่ Value >  กด Classify.. 

จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

เลือก Classification  Method: Equal Interval  Classes:7 จากนั้นกด ok

ช่อง Output raster ใส่ชื่อที่เราต้องการเซฟ(Reclass) > Save

จะปรากฏดังภาพ




ลิงค์วิดิโอสาธิต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น